วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2559

 

 

 

หน่วยที่ 9 : จริยธรรมและกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้อินเทอร์เน็ต

 
 
 

ความหมายของจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต


  หมายถึง หลักการที่มนุษย์ในสังคมยึดถือปฏิบัติ เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุขในสังคม สรุปได้ 4 ประเด็น ดังนี้
    1. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)
    2. ความถูกต้อง (Information Accuracy)
    3. ความเป็นเจ้าของ (Information Property)
    4. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility)

 

 


คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต


1. จรรยาบรรณสำหรับผู้ใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
    - ตรวจสอบจดหมายให้บ่อยครั้ง
    - ลบข้อความที่ไม่ต้องการออกจากระบบกล่องจดหมาย
2. จรรยาบรรณสำหรับผู้สนทนา
    - ควรสนทนากับผู้ที่เรารู้จักและต้องการสนทนาด้วย
    - ควรใช้วาจาสุภาพ
3. จรรณาบรรณสำหรับผุ้ใช้กระดานข่าว เว็บบอร์ด หรือสื่อทางข่าวสาร
    - เขียนเรื่องให้กระชับ
    - ไม่ควรคัดลอกจากที่อื่น
4. บัญญัติ  10  ประการ

อินเทอร์เน็ตกับผลกระทบต่อสังคมไทย

ผลกระทบทางบวก
    - ช่วยพัฒนาประสิทธิภาพการทำงาน
    - ช่วยพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ผลกระทบทางลบ
    - ก่อให้เกิดความเครียดของคนในสังคม
    - เกิดการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมจากสังคมหนึ่งไปสู่อีกสังคมหนึ่ง

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้อินเทอร์เน็ต


        - ลิขสิทธิ์ (Copyright)
        - งานอันมีลิขสิทธิ์
        - การได้มาซึ่งลิขสิทธิ์
        - การคุ้มครองลิขสิทธิ์
        - ประโยชน์ต่อผู้บริโภค

พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์


        ในประเทศไทยได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 เพื่อใช้บังคับแทนพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2521 โดยมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2538
        พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ให้ความหมายของคำว่า "ลิขสิทธิ์" ว่า หมายถึง สิทธิแต่เพียงผู้เดียวที่จะทำการใดๆ
*การละเมิดลิขสิทธิ์
    - การละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง คือ การทำซว้ำดัดแปลง
    - การละเมิดลิขสิทธิ์โดยอ้อม คือ การกระทำทางการค้า

คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ของผู้สำเร็จการศึกษาตามระดับคุณวุฒิอาชีวศึกษา


      1. รับผิดชอบ                 2. ขยัน
      3. ประหยัด                   4. ซื่อสัตย์
      5. จิตอาสา                   6. สามัคคี
      7. มีวินัย                      8. สะอาด
      9. สุภาพ                     10. ละเว้นอาบายมุข
 
 
 

จัดทำโดย

 
นางสาวจีรภา คัชมาตย์ เลขที่07  บช.1/2
 
นางสาวยวิษฐา อ่อนสุด เลขที่22  บช.1/2
 
 
 

อ้างอิง

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

วันพฤหัสบดีที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2559





ใบงานที่ 8
 
การป้องกันและการกำจัดไวรัส
 
 
   
 
 
 
 
ความหมายของไวรัส (Virus)
           
    ไวรัสคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบ

อมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจาก

การนำเอาไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง
    



ประเภทของไวรัส
              

    ไวรัสมีอยู่หลายประเภท โดยแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ดังนี้
             
1.ไฟล์ไวรัส (File Virus)
             
 2.บู๊ตเซกเตอร์ไวรัส (Boot Sector Virus)                           
             
3.มาโครไวรัส (Macro Virus)
             
4.หนอนไวรัส (Worm)
             
5.โทรจัน (Trojan)





สปายแวร์ (Spyware)
               สปายแวร์ (Spyware) คือ โปรแกรมที่แฝงเข้ามาในคอมพิวเตอร์ขณะที่กำลังทำงานบนอินเทอร์เน็ต เป็นโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นมาสอดส่อง หรือดักจับข้อมูลการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์
              
สปายแวร์ติดเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างไร
              
สปายแวร์จะติดได้หลายทางแต่หลักๆ คือ
               1.เข้าเยี่ยมเว็บไซต์ต่างๆ เมื่อเว็บไซต์บอกให้ดาวน์โหลดโปรแกรม ก็ดาวน์โหลดโดยที่ไม่รู้ว่าคืออะไร
               2.ดาวน์โหลดโปรแกรมฟรีที่เรียกว่า Freeware มาใช้ โปรแกรมฟรีนั้นมีใช้ก็ดี แต่ก็ควรดูให้ดีเพราะโปรแกรมฟรีหลายตัวจะมีสปายแวร์ติดมาด้วย
               3.เปิดโปรแกรมที่ส่งมากับอีเมล บางครั้งมีผู้ที่ส่งอีเมลมาให้พร้อมโปรแกรมสวยงาม โดยที่ไม่รู้ว่ามีสปายแวร์อยู่ด้วย ก็ส่งต่อๆ กันไป
                 
ข้อสังเกตเกี่ยวกับสปายแวร์
                 1.มี Pop up ขึ้นมาบ่อยครั้งที่เข้าเว็บ
                 2.ทูลบาร์ (Toolbar) มีแถบปุ่มเครื่องมือเพิ่มขึ้น
                 3.หน้าจอ (Desktop) มีไอคอน (Icon) แปลกๆ เพิ่มขึ้น
                 4.เมื่อเปิดเว็บบราวเซอร์ (Web Browser) หน้าเว็บแรกที่พบแสดงเว็บไซต์ที่ไม่รู้จักหรือไม่เคยพบเห็นมาก่อน
                 5.เว็บไซต์ใดที่ไม่สามารถเข้าได้ หน้าเว็บไซต์โฆษณาของสปายแวร์จะมาแทนที่
                
วิธีการป้องกันเพื่อไม่ให้ถูกโจมตีจากสปายแวร์
                 1.ติดตั้งโปรแกรม Anti- Spyware ไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ Anti- Spyware สามารถตรวจสอบค้นหาสิ่งแปลกปลอม (Spyware) ที่จะเข้าฝังตัวอยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งโปรแกรม Anti- Spyware จะทำหน้าที่ตรวจสอบเป็นลักษณะเรียลไทม์
                 2.ไม่ดาวน์โหลดไฟล์ข้อมูลหรือโปรแกรมจากเว็บไซต์ที่ไม่น่าเชื่อถือ ควรจะดาวน์โหลดจากเว็บไซต์ที่น่าเชื่อถือเท่านั้น
                 3.เมื่อเข้าไปในเว็บไซต์ใดเว็บไซต์หนึ่งและพบหน้าจอที่ผิดปกติ ให้พิจารณาอ่านข้อความเพื่อตรวจสอบเงื่อนไขการใช้งานก่อนที่จะดำเนินการใดๆ ต่อไป
การป้องกันสปายแวร์และซอฟต์แวร์ที่ไม่พึงประสงค์
                  คอมพิวเตอร์มีปัญหาใช้งานไม่ได้ วิธีการช่วยป้องกันคอมพิวเตอร์จากสปายแวร์และซอฟต์แวร์ที่ไม่พึงประสงค์          ต่างๆ มีดังนี้
                  ขั้นตอนที่ 1: อัพเดตซอฟต์แวร์ที่ใช้อยู่
                  ขั้นตอนที่ 2: ปรับแต่งตัวแปรระบบรักษาความปลอดภัยของ Internet Explorer
                  ขั้นตอนที่ 3: ใช้ไฟร์วอลล์ (Firewall)
                  ขั้นตอนที่ 4: ท่องเว็บไซต์และดาวน์โหลดข้อมูลอย่างรอบคอบ
 
 











วิธีการป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
                 

     วิธีการที่ดีที่สุดในการป้องกันปัญหาไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ให้ติดตั้งโปรแกรมแอนตี้ไวรัส แล้วทำการอัพเดตไวรัสอย่างสม่ำเสมอ และให้ทำการสแกนไวรัสเป็นประจำ มีข้อที่ควรปฏิบัติในการป้องกันไวรัส ดังนี้
                   1.ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัส และอัพเดตไวรัสอยู่เสมอ
                   2.ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะสมกับระบบปฏิบัติการของเครื่อง
                   3.สร้างแผ่น Emergency Disc หรือแผ่น Boot CD/USB เพื่อใช้ในการกู้ระบบ
                   4.อัพเดตข้อมูลไวรัสของโปรแกรมทุกวัน หรือทุกครั้งที่โปรแกรมแจ้งเตือนให้อัพเดต
                   5.เปิดใช้งาน auto-protect ถ้าโปรแกรมสนับสนุน
                   6.ตรวจสอบหาไวรัสทุกครั้งก่อนเปิดไฟล์จากแผ่นหรือสื่อบันทึกข้อมูลต่างๆ
                   7.ใช้โปรแกรมเพื่อทำการตรวจหาไวรัสบนเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์











โปรแกรมที่นิยมใช้ในการป้องกันไวรัส
                   1. AVG Antivirus Free Edition 2011
                    2. Avira AntiVir Personal Free Edition     
                    3. A vast Free Antivirus
                    4. PC Tools AntiVirus Free
                    5. Microsoft Security Essentials
                    6. ThreatFire AntiVirus Free Edition                   
                    7. Emsisoft Anti-Malware 5.0
                    8. Panda Cloud Antivirus Free
                    9. Multi Virus Cleaner 2009
                   10. A vast-Virus Cleaner and Worm Removal Tool
                   11. Baidu Antivirus 2014













อ้างอิง

https://sites.google.com/site/pornthaweenaka/na-senx-khxmul-dwy-tnxeng/hnwy-thi-1-khwam-ru-beuxng-tn-keiyw-kab-sangkhm-xxnlin/hnwy-thi-2-kar-chi-xinthexrnet-ni-ngan-thurkic/hnwy-thi-3-kar-khnha-khxmul-dwy-search-engin/hnwy-thi-4-kar-rab-sng-khxmul-kherux-khay-xinthexrnet/hnwy-thi-5-kar-chi-brikar-thi-mi-xyu-bn-sangkhm-xxnlin/hnwy-thi-6-por-eke-rm-cadkar-sarsnthes-swn-bukhkhl/hnwy-thi-7-kar-reiyn-ru-rabb-kherux-khay-xinthexrnet/hnwy-thi-8-kar-px-ngkanelea-ka-cawi-ras



จัดทำโดย

นางสาวจีรภา คัชมาตย์

นางสาวยวิษฐา อ่อนสุด








วันพฤหัสบดีที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2559






 ใบงานที่ 6
 
 
 
โปรแกรมจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล
 
 
 
 
 
 
 
 
  ความหมายของโปรแกรมจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล
 
 
     การจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล หมายถึง การพัฒนากลยุทธ์ที่ชัดเจนในการดำเนินการกับสารสนเทศที่ได้รับ อาจจะอยู่ในรูปแบบของการจัดเก็บ การดูเเลรักษา การสืบค้น การเเสดงผล และการกำจัดสารสนเทศที่ไม่ต้องการ
    สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลข่าวสารทุกประเภทที่ได้รับ อาจอยู่ในรูปแบบของภาพนิ่ง ตัวอักษร ภาพเคลื่อนไหว เสียง ซึ่งอาจมีแหล่งที่มาต่างๆ เช่น โทรศัพท์ โทรสาร สื่อคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
    ส่วนบุคคล หมายถึง การที่บุคคลมีความต้องการ หรือความจำเป็นในการใช้สารสนเทศหนึ่งๆ ในการประกอบกิจการงานหรือการดำรงชีวิตประจำวัน

ความสำคัญของการจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล
   
   ความสำคัญของการจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล มีเเนวคิดเกี่ยวกับการวางแผนด้านสารสนเทศสำหรับบุคคนที่เป็นเเนวคิดใหม่ที่ต้องอาศัยทักษะหลายด้าน โดยเฉพราะอย่างยิ่งทักษะด้านการจัดการ ทั้งนี้ เพื่อให้ประสบความสำเร็จในการประกอบกิจการงานเเละการดำรงชีวิตในยุคการเปลี่ยนเเปลงดังเช่นปัจจุบันเเนวคิดนี้เรียกว่า การจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล


 
 
องค์ประกอบของระบบการจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล
    
     องค์ประกอบของระบบการจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล เมื่อพิจารณาตามโครงสร้างของระบบที่ใช้จัดการฐานข้อมูลเเล้ว พบว่าองค์ประกอบที่เหมือนกันคือ
    ส่วนรับเข้า เเบ่งออกเป็น 2 ส่วนย่อยคือ
  • ความต้องการด้านสารสนเทศของผู้ใช้
  • ข้อมูลที่เข้าสู่ระบบ
    ส่วนประมวลผล หมายถึง กลไกลที่ทำหน้าที่ในการจัดหมวดหมู่หาสถานที่สำหรับจัดเก็บข้อมูลเพื่อสามารถนำออกมาใช้ได้ การจัดวิธีการเข้าถึงข้อมูล
    ส่วนเเสดงผล เป็นส่วนที่มีความสำพันธ์มากระดับหนึ่ง คือ ผู้ใช้จะพึงพอใจระบบมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับคุณภาพของผลลัพธ์ ความต้องการเเละวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ระบบเป็นหลัก



ประเภทของระบบการจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล
    
 
    ประเภทของระบบการจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล จำเเนกตามรูปลักษณ์เเบ่งออกได้ดังนี้
  1.ประเภทโปรเเกรมสำรูป เช่น โปรแกรมบริหารบุคคล โปรเเกรมระบบบัญชีเงินเดือน
  2.ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ในลักษณะใช้งานอิสระและผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในองค์การ
  3.ฟังก์ชันการทำงานหลัก ได้เเก่ ฟังก์ชันนัดหมาย ฟังก์ชันติดตามงาน ฟังก์ชันติดต่อสื่อสาร
  4.โปรแกรมสำเร็จรูปที่ใช้ในงานสำนักงานทั่วไป เช่น โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด โปรเเกรมเอ็กซ์เซล โปรแกรมเพาเวอร์พอยท์
 
 
ระบบนัดหมายส่วนบุคคล
   
  เป็นโปรเเกรมคอมพิวเตอร์ที่พบในระบบการจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล มีประโยชน์ดังนี้
  1.การใช้ระบบ
  2.เป็นระบบทีใช้งานง่าย
  3.ระบบมีการบันทึกข้อมูลเเบบลัด
  4.การค้นหาข้อมูล (Search) สามารถทำได้เป็นรายวัน รายสัปดาห์ หรือ รายปี และสามารถใช้ฟังก์ชั่นทำซ้ำ
  5.หากมีกิจกรรมมากกว่าหนึ่งกิจกรรมซ้ำซ้อนในเวลาเดียวกัน ระบบจะเตือนให้ผู้ใช้ทราบเพื่อเเก้ไขปัญหา
  6.มีสัญญานเตือนกันนัดหมาย
  7.มีระบบช่วยจำ
  8.ป้อนข้อความเตือนความจำเข้าสู่ระบบนัดหมายส่วนบุคคลโดยอัตโนมัติ
  9.มีหน้าต่างเเสดงความจำเเสดงขึ้นที่หน้าจอภาพ เมื่อมีการเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์หรือพีดีเอ
  10.ส่งข้อความเตือนความจำผ่านระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
  11.เป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยในการนัดประชุม

 
 
 
ระบบการติดตามงานส่วนบุคคล
    
    ส่วนหนึ่งของโปรเเกรมการบริหารจัดการสารสนเทศส่วนบุคคลที่นิยมใช้ คือ ระบบการติดตามงานส่วนบุคคล เพราะมีประโยชน์ในการติดตามเพื่อให้งานประสบผลสำเร็จ ซึ่งระบบการติดตามงานส่วนบุคคลมีรายละเอียดเกี่ยวกับโปรเเกรมดังนี้
  1.ระบบติดตามงานส่วนบุคคลเป็นโปรเเกรมอรรถประโยชน์เช่นเดียวกับนาฬิกาปลุกเเละเครื่องคิดเลข
  2.ระบบติดตามงานบุคคล หมายถึง บัญชีรายงานที่ยังไม่ได้ดำเนินการ มีลักษณะคล้ายสมุดจดบันทึกช่วยจำที่เป็นกกระดาษ
  3.ระบบติดตามงานส่วนบุคคลเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการบริหารงานและเวลาของเเต่ละบุคคลโดยเฉพราะผู้มีภารกิจมาก
  4.ปัญหาที่พบในการบริหารเวลาของตนเอง คือ ความพยายามที่จะทำงานหฃายอย่างให้เสร็จภายในวันเดียว
  5.มีนิสัยผัดวันประกันพรุ่ง จึงต้องทำงานเเบเร่งรีบในช่วงเวลาสุดท้าย
 
 
พัฒนาการของระบบการจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล
    
    ในขณะที่ใช้ระบบการจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล  หมายถึง การพัฒนาการบริหารการจัดการจากในรูปแบบของกระดาษมาใช้เป็นระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัย โดยมีลักษณะของการพัฒนาการ ดังนี้
    1.ระบบการจัดการสารสนเทศส่วนบุคคลในรูปแแบกระดาษที่มีมาตั้งเเต่ อดีตจนถึงปัจจุบัน
    2.ระบบสารสนเทศส่วนบุคคลในรูปเเบบคอมพิวเตอร์
    3.ระบบการจัดการสารสนเทศของกลุ่ม
 
 
เกณฑ์การเลือกระบบการจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล
   
   การพิจารณาเป้าหมายส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับชีวิตการทำงานเเละชีวิตส่วนตัว  และเป้าหมายขององค์กรรวมทั้งลักษณะ  ประเภท และนโยบายหลักขององค์กร มีเกณฑ์การเลือกระบบการจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล ดังนี้
   1.ความต้องการด้านสารสนเทศ
   2.ความต้องการระบบนัดหมายส่วนบุคคลหรือระบบนัดหมายกลุ่ม
   3.ความต้องการระบบติดตามงานหรือไม่
   4.ความต้องการระบบติดต่อสื่อสารในลักษณะใด
   5.สภาพเเวดล้อมในการทำงาน
   6.การทำงานในลักษณะคนเดียวหรือกลุ่ม
   7.การทำงานภายในหรือภายนอกองค์กร
   8.การติดต่อสื่อสารกับบุคคลอื่น
   9.ความสามารถในการทำงาน
  10.ราคา
  11.ความยากง่ายในการทำงาน
  12.การสนับสนุนด้านเทคนิค
  13.การรับฟังความคิดเห็น
  14.การทดลองใช้ระบบ




อ้างอิง

https://sites.google.com/site/pornthaweenaka/na-senx-khxmul-dwy-tnxeng/hnwy-thi-1-khwam-ru-beuxng-tn-keiyw-kab-sangkhm-xxnlin/hnwy-thi-2-kar-chi-xinthexrnet-ni-ngan-thurkic/hnwy-thi-3-kar-khnha-khxmul-dwy-search-engin/hnwy-thi-4-kar-rab-sng-khxmul-kherux-khay-xinthexrnet/hnwy-thi-5-kar-chi-brikar-thi-mi-xyu-bn-sangkhm-xxnlin/hnwy-thi-6-por-eke-rm-cadkar-sarsnthes-swn-bukhkhl

จัดทำโดย

นางสาวจีรภา คัชมาตย์ บช.1/2 เลขที่ 07

นางสาวยวิษฐา อ่อนสุด บช.1/2 เลขที่ 22